Optimizer 4.0 ของ Atlas Copco ช่วยลดการใช้พลังงานและลดการปล่อยคาร์บอน ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในไทย

Improve Product Quality Avantguard

Optimizer ช่วยลดการใช้พลังงานและลดการปล่อยคาร์บอน ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในไทย

 

ตัวควบคุมส่วนกลาง

Optimizer ช่วยลดการใช้พลังงานและลดการปล่อยคาร์บอน ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในไทย

 

ตัวควบคุมส่วนกลาง

Optimizer ช่วยลดการใช้พลังงานและลดการปล่อยคาร์บอน ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในไทย

 

ตัวควบคุมส่วนกลาง

Optimizer ช่วยลดการใช้พลังงานและลดการปล่อยคาร์บอน ในโรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในไทย

 

ตัวควบคุมส่วนกลาง Optimizer 4.0 จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลม compressor ทั้งระบบด้วยการจัดการเครื่องจักรแบบผสานรวมในจุดที่เหมาะสมที่สุดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยลดการใช้พลังงานและเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการบำรุงรักษาของคุณ ตัวควบคุมพร้อมสำหรับอุตสาหกรรม 4.0 หรือ Internet of Things และออกแบบมาสำหรับโรงงานอัจฉริยะ

 

จากการที่โลกร้อนขึ้น อากาศแปรปรวนแบบไม่สามารถควบคุมได้ ค่าไฟฟ้า ค่าพลังงานสูงขึ้นอันเนื่องมาจากแหล่งทรัพยากรธรรมชาติหาได้ยากขึ้น แต่ละประเทศต่างก็ได้มีการควบคุมการใช้พลังงาน เพื่อลดการปล่อยคาร์บอน ทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ได้มีการรณรงค์ เพื่อช่วยกันแก้ปัญหาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมดังกล่าว ประเทศไทยก็เช่นเดียวกันกับทุกๆประเทศ

บทความนี้เป็นเพียงตัวอย่างของบริษัทแห่งหนึ่งในจำนวนผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย ที่ได้เล็งเห็นถึงปัญหานี้และร่วมกันช่วยแก้ปัญหา โดยตั้งเป้าหมายที่จะบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอนในปี 2025 และลดการปล่อยคาร์บอนลงให้ได้ 30% ภายในปี 2030 บริษัทแห่งนี้มีแนวทางที่จะบรรลุเป้าหมายโดยการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าและเปลี่ยนมาใช้พลังงานหมุนเวียนทดแทน

 

Optimizer 4.0 leaflet

 

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้ VSD รุ่น GA160VSD จำนวน 1 เครื่อง

 

ปัญหาที่พบและการแก้ไข

ทางแอตลาสคอปโก้ ได้เข้าไปตรวจวัดพลังงานโดยการเก็บข้อมูลจริงเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการทำงานของเครื่องอัดอากาศ ให้กับบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์รายนี้ ได้ผลสรุปดังนี้

1.    เครื่องอัดอากาศไม่สอดคล้องกับการใช้ลมในกระบวนการผลิต เครื่องอัดอากาศแบบ Fixed Speed มีชั่วโมงการทำงานแบบ Unload มากกว่าปกติ ส่วนเครื่องอัดอากาศแบบ VSD มีการทำงานแบบไม่สัมพันธ์กับเครื่อง Fixed Speed และไม่ได้ช่วยลดชั่วโมง Unload ของเครื่องแบบ Fixed Speed ตามที่ควรจะเป็น

2.    แอตลาสคอปโก้ ได้นำข้อมูลการทำงานของเครื่องอัดอากาศไปจำลองสถานการณ์ด้วยซอฟแวร์ Simulator ผลการจำลองพบว่า ถ้าเรานำ Central Controller หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Optimizer 4.0 มาควบคุมการทำงานและติดตามการใช้ลม (Demand) อยู่ตลอดเวลา จะสามารถประหยัดพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.    Optimizer 4.0 ช่วยปรับความดันในถังลมให้นิ่งอยู่เสมอและอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งดีกว่าการทำงานในปัจจุบัน การควบคุมการทำงานแบบนี้เรียกว่า การควบคุมการทำงานจากส่วนกลางหรือ Central Controller โดยช่วยลดชั่วโมงการทำงานแบบ Unload ที่สิ้นเปลืองพลังงานลงได้ถึง 30% และจัดการการทำงานของเครื่องอัดอากาศแบบ VSD รุ่น GA160VSD ให้สอดคล้องกับการใช้ลมในฝ่ายผลิตอยู่ตลอดเวลา.

 

Result:

1.      ก่อนการติดตั้ง Optimizer 4.0 ได้ทำ Energy Audit จำนวน 1 สัปดาห์ นำข้อมูลจริงเข้าไปจำลองสถาณการณ์ในคอมพิวเตอร์ พบว่าถ้าหากติดตั้ง Optimizer 4.0 กับระบบอัดอากาศเดิมจะสามารถลดพลังงานไฟฟ้าลงได้ 10% หรือคิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,342,048 บาทต่อปี

2.      หลังจากที่ติดตั้ง Optimizer 4.0 และทำ Energy audit เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์เพื่อเปรียบเทียบพบว่าสามาราถลดการใช้พลังงาน ลงได้ 8% คิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,054,319 บาทต่อปี

 

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้ VSD รุ่น GA160VSD จำนวน 1 เครื่อง

 

ปัญหาที่พบและการแก้ไข

ทางแอตลาสคอปโก้ ได้เข้าไปตรวจวัดพลังงานโดยการเก็บข้อมูลจริงเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการทำงานของเครื่องอัดอากาศ ให้กับบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์รายนี้ ได้ผลสรุปดังนี้

1.    เครื่องอัดอากาศไม่สอดคล้องกับการใช้ลมในกระบวนการผลิต เครื่องอัดอากาศแบบ Fixed Speed มีชั่วโมงการทำงานแบบ Unload มากกว่าปกติ ส่วนเครื่องอัดอากาศแบบ VSD มีการทำงานแบบไม่สัมพันธ์กับเครื่อง Fixed Speed และไม่ได้ช่วยลดชั่วโมง Unload ของเครื่องแบบ Fixed Speed ตามที่ควรจะเป็น

2.    แอตลาสคอปโก้ ได้นำข้อมูลการทำงานของเครื่องอัดอากาศไปจำลองสถานการณ์ด้วยซอฟแวร์ Simulator ผลการจำลองพบว่า ถ้าเรานำ Central Controller หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Optimizer 4.0 มาควบคุมการทำงานและติดตามการใช้ลม (Demand) อยู่ตลอดเวลา จะสามารถประหยัดพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.    Optimizer 4.0 ช่วยปรับความดันในถังลมให้นิ่งอยู่เสมอและอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งดีกว่าการทำงานในปัจจุบัน การควบคุมการทำงานแบบนี้เรียกว่า การควบคุมการทำงานจากส่วนกลางหรือ Central Controller โดยช่วยลดชั่วโมงการทำงานแบบ Unload ที่สิ้นเปลืองพลังงานลงได้ถึง 30% และจัดการการทำงานของเครื่องอัดอากาศแบบ VSD รุ่น GA160VSD ให้สอดคล้องกับการใช้ลมในฝ่ายผลิตอยู่ตลอดเวลา.

 

Result:

1.      ก่อนการติดตั้ง Optimizer 4.0 ได้ทำ Energy Audit จำนวน 1 สัปดาห์ นำข้อมูลจริงเข้าไปจำลองสถาณการณ์ในคอมพิวเตอร์ พบว่าถ้าหากติดตั้ง Optimizer 4.0 กับระบบอัดอากาศเดิมจะสามารถลดพลังงานไฟฟ้าลงได้ 10% หรือคิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,342,048 บาทต่อปี

2.      หลังจากที่ติดตั้ง Optimizer 4.0 และทำ Energy audit เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์เพื่อเปรียบเทียบพบว่าสามาราถลดการใช้พลังงาน ลงได้ 8% คิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,054,319 บาทต่อปี

 

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้ VSD รุ่น GA160VSD จำนวน 1 เครื่อง

 

ปัญหาที่พบและการแก้ไข

ทางแอตลาสคอปโก้ ได้เข้าไปตรวจวัดพลังงานโดยการเก็บข้อมูลจริงเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการทำงานของเครื่องอัดอากาศ ให้กับบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์รายนี้ ได้ผลสรุปดังนี้

1.    เครื่องอัดอากาศไม่สอดคล้องกับการใช้ลมในกระบวนการผลิต เครื่องอัดอากาศแบบ Fixed Speed มีชั่วโมงการทำงานแบบ Unload มากกว่าปกติ ส่วนเครื่องอัดอากาศแบบ VSD มีการทำงานแบบไม่สัมพันธ์กับเครื่อง Fixed Speed และไม่ได้ช่วยลดชั่วโมง Unload ของเครื่องแบบ Fixed Speed ตามที่ควรจะเป็น

2.    แอตลาสคอปโก้ ได้นำข้อมูลการทำงานของเครื่องอัดอากาศไปจำลองสถานการณ์ด้วยซอฟแวร์ Simulator ผลการจำลองพบว่า ถ้าเรานำ Central Controller หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Optimizer 4.0 มาควบคุมการทำงานและติดตามการใช้ลม (Demand) อยู่ตลอดเวลา จะสามารถประหยัดพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.    Optimizer 4.0 ช่วยปรับความดันในถังลมให้นิ่งอยู่เสมอและอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งดีกว่าการทำงานในปัจจุบัน การควบคุมการทำงานแบบนี้เรียกว่า การควบคุมการทำงานจากส่วนกลางหรือ Central Controller โดยช่วยลดชั่วโมงการทำงานแบบ Unload ที่สิ้นเปลืองพลังงานลงได้ถึง 30% และจัดการการทำงานของเครื่องอัดอากาศแบบ VSD รุ่น GA160VSD ให้สอดคล้องกับการใช้ลมในฝ่ายผลิตอยู่ตลอดเวลา.

 

Result:

1.      ก่อนการติดตั้ง Optimizer 4.0 ได้ทำ Energy Audit จำนวน 1 สัปดาห์ นำข้อมูลจริงเข้าไปจำลองสถาณการณ์ในคอมพิวเตอร์ พบว่าถ้าหากติดตั้ง Optimizer 4.0 กับระบบอัดอากาศเดิมจะสามารถลดพลังงานไฟฟ้าลงได้ 10% หรือคิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,342,048 บาทต่อปี

2.      หลังจากที่ติดตั้ง Optimizer 4.0 และทำ Energy audit เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์เพื่อเปรียบเทียบพบว่าสามาราถลดการใช้พลังงาน ลงได้ 8% คิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,054,319 บาทต่อปี

 

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้ VSD รุ่น GA160VSD จำนวน 1 เครื่อง

 

ปัญหาที่พบและการแก้ไข

ทางแอตลาสคอปโก้ ได้เข้าไปตรวจวัดพลังงานโดยการเก็บข้อมูลจริงเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการทำงานของเครื่องอัดอากาศ ให้กับบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์รายนี้ ได้ผลสรุปดังนี้

1.    เครื่องอัดอากาศไม่สอดคล้องกับการใช้ลมในกระบวนการผลิต เครื่องอัดอากาศแบบ Fixed Speed มีชั่วโมงการทำงานแบบ Unload มากกว่าปกติ ส่วนเครื่องอัดอากาศแบบ VSD มีการทำงานแบบไม่สัมพันธ์กับเครื่อง Fixed Speed และไม่ได้ช่วยลดชั่วโมง Unload ของเครื่องแบบ Fixed Speed ตามที่ควรจะเป็น

2.    แอตลาสคอปโก้ ได้นำข้อมูลการทำงานของเครื่องอัดอากาศไปจำลองสถานการณ์ด้วยซอฟแวร์ Simulator ผลการจำลองพบว่า ถ้าเรานำ Central Controller หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Optimizer 4.0 มาควบคุมการทำงานและติดตามการใช้ลม (Demand) อยู่ตลอดเวลา จะสามารถประหยัดพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.    Optimizer 4.0 ช่วยปรับความดันในถังลมให้นิ่งอยู่เสมอและอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งดีกว่าการทำงานในปัจจุบัน การควบคุมการทำงานแบบนี้เรียกว่า การควบคุมการทำงานจากส่วนกลางหรือ Central Controller โดยช่วยลดชั่วโมงการทำงานแบบ Unload ที่สิ้นเปลืองพลังงานลงได้ถึง 30% และจัดการการทำงานของเครื่องอัดอากาศแบบ VSD รุ่น GA160VSD ให้สอดคล้องกับการใช้ลมในฝ่ายผลิตอยู่ตลอดเวลา.

 

Result:

1.      ก่อนการติดตั้ง Optimizer 4.0 ได้ทำ Energy Audit จำนวน 1 สัปดาห์ นำข้อมูลจริงเข้าไปจำลองสถาณการณ์ในคอมพิวเตอร์ พบว่าถ้าหากติดตั้ง Optimizer 4.0 กับระบบอัดอากาศเดิมจะสามารถลดพลังงานไฟฟ้าลงได้ 10% หรือคิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,342,048 บาทต่อปี

2.      หลังจากที่ติดตั้ง Optimizer 4.0 และทำ Energy audit เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์เพื่อเปรียบเทียบพบว่าสามาราถลดการใช้พลังงาน ลงได้ 8% คิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,054,319 บาทต่อปี

 

ความท้าทาย

หาแนวทางในการประหยัดพลังงานและลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยคาร์บอนของโรงงานตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ รวมทั้งมีแผนการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภค และส่วนที่สำคัญต่อการผลิต เช่น ระบบปรับอากาศ ระบบน้ำเย็น แสงสว่าง เครื่องจักรการผลิต และระบบอัดอากาศ

 

ผลิตภัณฑ์ของแอตลาสคอปโก้

บริษัทนี้มีเครื่องอัดอากาศของ Atlas Copco จำนวน 4 เครื่อง ประกอบด้วยเครื่องอัดอากาศชนิดใช้น้ำมันในการระบายความร้อน (Oil Injected) ความเร็วคงที่ (Fixed Speed) รุ่น GA160 จำนวน 3 เครื่อง และ Oil Injected แบบปรับความเร็วรอบได้ VSD รุ่น GA160VSD จำนวน 1 เครื่อง

 

ปัญหาที่พบและการแก้ไข

ทางแอตลาสคอปโก้ ได้เข้าไปตรวจวัดพลังงานโดยการเก็บข้อมูลจริงเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมการทำงานของเครื่องอัดอากาศ ให้กับบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์รายนี้ ได้ผลสรุปดังนี้

1.    เครื่องอัดอากาศไม่สอดคล้องกับการใช้ลมในกระบวนการผลิต เครื่องอัดอากาศแบบ Fixed Speed มีชั่วโมงการทำงานแบบ Unload มากกว่าปกติ ส่วนเครื่องอัดอากาศแบบ VSD มีการทำงานแบบไม่สัมพันธ์กับเครื่อง Fixed Speed และไม่ได้ช่วยลดชั่วโมง Unload ของเครื่องแบบ Fixed Speed ตามที่ควรจะเป็น

2.    แอตลาสคอปโก้ ได้นำข้อมูลการทำงานของเครื่องอัดอากาศไปจำลองสถานการณ์ด้วยซอฟแวร์ Simulator ผลการจำลองพบว่า ถ้าเรานำ Central Controller หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า Optimizer 4.0 มาควบคุมการทำงานและติดตามการใช้ลม (Demand) อยู่ตลอดเวลา จะสามารถประหยัดพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.    Optimizer 4.0 ช่วยปรับความดันในถังลมให้นิ่งอยู่เสมอและอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งดีกว่าการทำงานในปัจจุบัน การควบคุมการทำงานแบบนี้เรียกว่า การควบคุมการทำงานจากส่วนกลางหรือ Central Controller โดยช่วยลดชั่วโมงการทำงานแบบ Unload ที่สิ้นเปลืองพลังงานลงได้ถึง 30% และจัดการการทำงานของเครื่องอัดอากาศแบบ VSD รุ่น GA160VSD ให้สอดคล้องกับการใช้ลมในฝ่ายผลิตอยู่ตลอดเวลา.

 

Result:

1.      ก่อนการติดตั้ง Optimizer 4.0 ได้ทำ Energy Audit จำนวน 1 สัปดาห์ นำข้อมูลจริงเข้าไปจำลองสถาณการณ์ในคอมพิวเตอร์ พบว่าถ้าหากติดตั้ง Optimizer 4.0 กับระบบอัดอากาศเดิมจะสามารถลดพลังงานไฟฟ้าลงได้ 10% หรือคิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,342,048 บาทต่อปี

2.      หลังจากที่ติดตั้ง Optimizer 4.0 และทำ Energy audit เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์เพื่อเปรียบเทียบพบว่าสามาราถลดการใช้พลังงาน ลงได้ 8% คิดเป็นเงินโดยประมาณ 1,054,319 บาทต่อปี

 

สนใจ aircheck หรือ airaudit 

 

1.      ช่วยเรื่องการลดการปล่อยคาร์บอน (CO2 Emission) จาก 1,303,063 kg/ปี ลงเหลือ 1,145,393 kg/ปี หรือลดลง 12% ต่อปี

2.      Optimizer 4.0 สามารถหยุดการทำงานของเครื่องอัดอากาศขณะที่ไม่มีการใช้ลม และสั่งให้เครื่องอัดอากาศกลับมาทำงานโดยอัตโนมัติเมื่อมีการใช้ลม ทำให้ระบบมีเสถียรภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยลดการรั่วไหลของลมในระบบได้อีกด้วย

3.      Optimizer 4.0 สามารถควบคุมความเร็วในเครื่องอัดอากาศแบบ VSD ให้เหมาะสมกับการใช้ลมในขณะนั้นๆ ซึ่งช่วยลดการ Unload ของเครื่อง Fixed Speed ไปในตัว.

4.      Optimizer 4.0 สามารถตรวจสอบการทำงานของเครื่องได้จากห้องควบคุมและข้อมูลของเครื่องอัดอากาศจะถูกเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์โดยอัตโนมัติ สามารถนำข้อมูลนี้ไปปรับปรุงระบบให้ดีขึ้น ช่วยเก็บข้อมูลพลังงานในแต่ละเดือน และจัดทำรายงานประจำเดือนโดยอัตโนมัติ

5.      ช่วยดูแลการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ชั่วโมงการทำงานของเครื่องเหมาะสมหรือช่วยแบ่งการทำงานไม่ให้ทำงานหนักเพียงเครื่องใดเครื่องหนึ่ง และช่วยยืดอายุการใช้งานของเครื่องให้ยาวนานขึ้น

 

vdo airscan 

การตรวจสอบและการเพิ่มประสิทธิภาพ