Compressed Air Guidelines banner

การใช้ระบบอากาศอัดในอุตสาหกรรมการผลิตที่มีระดับแตกต่างกันจะประสบปัญหาอะไรบ้าง?

การดำเนินธุรกิจบางจังหวะมักประสบปัญหาการเพิ่มหรือลดกระบวนการผลิตแบบกระทันหัน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ซึ่งเป็นธรรมชาติของธุรกิจ ดังนั้นการเข้าใจกระบวนการทำงานของระบบอากาศอัด (ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่่อยู่เบื้องหลังของกระบวนการผลิตในโรงงาน) จึงเป็นหัวใจสำคัญเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจที่ทำให้เครื่องอัดอากาศของคุณยังคงประสิทธิภาพและใช้งานได้ดีพร้อมตอบรับแนวทางธุรกิจที่เติบโตขึ้น คุณจึงมั่นใจว่าระบบอากาศอัดในโรงงานของคุณสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดโดยไม่มีปัญหาเรื่องอัตราความเร็วในการผลิต  

จะทำอย่างไร หากระบบอากาศอัดมีความต้องการปริมาณลมเพิ่มขึ้น?

ธุรกิจของคุณกำลังอยู่ในช่วงขาขึ้นใช่ไหม? ถ้าใช่นั่นหมายความว่าคุณมีกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น หากคุณมีกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้น อย่าละเลยการตรวจสอบและติดตั้งระบบอากาศอัดของคุณเพราะ คอมเพรสเซอร์หรือปั๊มลมของคุณทำหน้าที่จ่ายพลังงานการผลิตทั่วทั้งโรงงาน ดังนั้นการเตรียมระบบอากาศอัดให้พร้อมสำหรับการผลิตที่เพิ่มมากขึ้นจึงเป็นสิ่งสำคัญที่่ช่วยให้การผลิตเร็วขึ้น

•อย่าละเลยเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมของคุณ

เครื่องอัดอากาศที่คุณใช้อยู่ในปัจจุบันยังคงประสิทธิภาพเหมือนเดิมและสามารถปรับให้เข้ากับความต้องการตามการผลิตที่เพิ่มขึ้นได้หรือไม่?  เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมถือเป็นฟันเฟืองที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของการดูแลระบบการผลิตของคุณ  ดังนั้นกระบวนการผลิตเทียบเท่ากับระบบอากาศอัด การบำรุงรักษาเครื่องอัดอากาศของคุณให้คงประสิทธิภาพ ก่อนที่จะเพิ่มปริมาณการผลิตจะช่วยลดปัญหาที่ตามมาได้

•จัดการกับความต้องการที่เพิ่มขึ้น

คุณกำลังจะซื้อเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมใหม่เพื่อที่จะผลิตได้ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นหรือไม่? หากคุณซื้อเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเพิ่ม คุณอาจจะประหยัดเงินโดยการซื้อคอมเพรสเซอร์ขนาดใหญ่หนึ่งเครื่องแล้วเก็บเครื่องเก่าไว้เป็นตัวสำรองหากมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นกับเครื่องหลักซึ่งการผลิตทั้งหมดอาจหยุดชะงักได้

•ยิ่งมีอากาศอัดเพิ่มขึ้น ยิ่งทำให้ความชื้นมีขนาดเล็กลง 

ระบบมีการเตรียมรับมือกับความชื้นจำนวนมากที่จะเพิ่มขึ้นในระบบอากาศอัดหรือไม่? เนื่องจากความชื้นเป็นอันตรายต่อการติดตั้งระบบอากาศอัดและกระบวนการผลิตในขั้นตอนสุดท้าย ดังนั้นก่อนที่จะเพิ่มกำลังการผลิตให้ตรวจสอบว่ากระบวนการทำลมแห้งของระบบ (จากเครื่องทำลมแห้ง (Air dryer) ในระบบ เครื่องระบายความร้อนหลังกระบวนการอัดอากาศหรือมีการบีบอัดมากเกินไป) สามารถเพิ่มความชื้นในระบบมากขึ้นด้วย

•มีที่เก็บลมเพียงพอหรอไม่? 

ระบบสามารถใช้ถังเก็บลมช่วยเก็บแบบชั่วคราว (Air-receiver) ในช่วงที่มีการใช้งานสูงสุดได้ การอัพเกรดที่เก็บลมจะช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่ามีการจ่ายอากาศเพียงพอในขณะที่มีการลดจำนวนรอบที่มอเตอร์เริ่มทำงาน

•เปิดใจยอมรับเทคโนโลยีใหม่ๆ 

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาเราได้เห็นความก้าวหน้าอย่างมากของเทคโนโลยีอัดอากาศโดยเฉพาะอย่างยิ่งความก้าวหน้าของการเพิ่มกำลังแรงม้าในเครื่องอัดอากาศ การที่เราได้เรียนรู้คุณสมบัติใหม่ๆ และประโยชน์ที่ได้รับจากเทคโนโลยีอัดอากาศในปัจจุบันมีความสำคัญมาก  โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากคอมเพรสเซอร์มีอายุมากกว่า 10 ปี

จะทำอย่างไร หากต้องการให้ระบบอากาศอัดหยุดทำงานชั่วคราว?

คุณต้องการลดกำลังการผลิตและปิดเครื่องอัดอากาศชั่วคราวใช่ไหม? คุณสามารถปิดเครื่องอัดอากาศได้ด้วยตัวเอง แม้ว่าสวิตซ์จะรวมอยู่ในระบบควบคุมส่วนกลางก็ตาม หากคุณไม่ปิด เครื่องอาจทำงานที่สมรรถนะต่ำสุดเพื่อชดเชยรอยรั่วเล็กๆในระบบอากาศอัดของคุณ

•เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดปรับความเร็วได้ (VSD)

ให้ดำเนินการหยุดโปรแกรมและตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีการจ่ายกระแสไฟฟ้าเหลืออยู่เพื่อให้ตัวเก็บประจุไฟฟ้า(capacitor bank)ได้รับการชาร์ตและพร้อมสำหรับการเริ่มใช้งานครั้งต่อไป

•เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดระบายความร้อนด้วยน้ำ(Water-Cooled Air Compressors)  

หลังจากปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแล้วระบบจะแยกการจ่ายน้ำ ซึ่งจะทำให้ไม่เกิดการควบแน่นจากการก่อตัวภายในส่วนประกอบของปั๊มลม ดังนั้นอย่าลืมเปิดใช้งานอีกครั้งเมื่อเริ่มใช้งานใหม่และตรวจสอบให้แน่ใจว่า ระบบระบายความร้อนนั้นปิดอยู่

•เครื่องอัดอากาศชนิดไม่มีน้ำมัน(Oil-Free Compressors) 

เพลาขับ (drive shaft) ตัวหลักจะต้องหมุนรอบตัวเองด้วยDrive Coupling โดยหมุน 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เพื่อป้องกันช่วงที่มีการบีบอัดด้วยแรงดันสูงและแรงดันต่ำจากการที่เครื่องหยุดทำงานเป็นเวลานานในช่วง down time หากเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมรุ่น Z เป็นแบบปรับความเร็วได้(VSD) ให้เปิดแหล่งจ่ายไฟอีกครั้งหลังจากหมุนเครื่องอัดอากาศด้วยมือเพื่อป้องกันตัวเก็บประจุไดรฟ์อินเวอร์เตอร์ (inverter drive capacitor)

• คอมเพรสเซอร์แบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal Compressors)

โปรแกรมจะหยุดทำงานและเปิดการจ่ายไฟไว้ ทำให้จำเป็นต้องใช้กระแสไฟฟ้าในการสูบน้ำมันสำรองไว้ขณะที่คอมเพรสเซอร์ปิดอยู่  การสูบน้ำมันสำรองไว้จะช่วยรักษาอุณหภูมิน้ำมันและจะเริ่มสูบเป็นระยะๆ เพื่อถ่ายเทน้ำมันรอบลูกปืนในช่วงที่เครื่องหยุดทำงานเป็นเวลานาน 

•เครื่องผลิตก๊าซและเครื่องทำลมแห้งโดยการดูดซับหรือการใช้สารทำความเย็น (Gas Generators and Dryers)

เครื่องจักรประเภทนี้สามารถหยุดทำงานได้ด้วยตัวเองหากมีความกดอากาศต่ำ  แต่หากเครื่องผลิตก๊าซเกิดแรงดัน แนะนำให้ตรวจสอบระดับออกซิเจนในห้องเครื่องทันที

จะทำอย่างไรหากต้องการเริ่มติดตั้งระบบอากาศอัดใหม่อีกครั้ง?

1) ปิดการจ่ายไฟไปยังเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

2) ถอดตัวป้องกันเพลาขับ (drive shaft protection guard) ออกแล้วหมุนตัว drive coupling เพื่อตรวจสอบว่าเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเปิดได้หรือไม่ ถ้าเครื่องอัดอากาศหมุนได้อย่างอิสระให้ใส่ตัวป้องกันอีกครั้งและเปิดแหล่งจ่ายไฟไปยังเครื่องอัดอากาศ

3) เปิดระบบระบายความร้อนด้วยน้ำและระบบระบายความร้อนด้วยอากาศ (หากเครื่องอัดอากาศมีระบบระบายความร้อนด้วยน้ำ)

4) ปิดวาล์วระบายอากาศและเปิดเครื่องอัดอากาศ

5) เปิดวาล์วระบายอากาศช้า ๆ จนกว่าแรงดันอากาศระหว่างเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมและอากาศทั้งหมดจะเท่ากัน  เมื่อคุณปฏิบัติถึงขั้นตอนนี้เครื่องอัดอากาศจะสามารถกลับมาทำงานได้อีกครั้ง

หมายเหตุ: หากเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมได้รับการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ควบคุมแบบลำดับ (sequence controller) คุณต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าเครื่องอัดอากาศของคุณมีการพัฒนาให้เข้ากับตัวควบคุม (controller) หรืออุปกรณ์เพิ่มประสิทธิภาพ (optimizer)

เราจะลดต้นทุนในช่วงที่มีการผลิตช้าลงได้อย่างไร?

ข้อดีอย่างหนึ่งของการลดกำลังการผลิตลงคือเราสามารถประหยัดค่าไฟที่ใช้ในแต่ละเดือนได้ เนื่องจากค่าไฟทั้งหมดที่ใช้ในโรงงานนั้นส่วนใหญ่มาจากระบบอากาศอัดที่ใช้ในโรงงาน  ดังนั้นการลดกำลังการผลิตลง (การลดปริมาณลมอัดเพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณการผลิต) จะช่วยในส่วนของธุรกิจคุณ
 

1) ลดช่วงระยะเวลาที่ Unloaded  

ทำให้ความต้องการอากาศในอุตสาหกรรมระบบอากาศอัดมีความผันผวน เราใช้ความผันผวนนี้ลดชั่วโมงการทำงานที่ Unloaded เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน

 - ตัวควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม(Compressor Controllers)

 ตัวควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมใช้งานง่าย จึงช่วยให้คุณลดเวลาในการทำงานที่่ unloaded  หากคุณมีเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมหลายตัวสามารถตั้งค่าตัวควบคุมไว้อัตโนมัติ หากไม่มีตัวควบคุมส่วนกลางแสดงว่า pressure band ของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมคุณมีการติดตั้งแบบ cascade ที่เหมาะสมแล้ว  ซึ่งหมายความว่าเมื่อค่าแรงดันอากาศถึงจุดที่ตั้งไว้ ตัวควบคุมออนบอร์ด (on-board controller) จะสั่งให้เครื่องอัดอากาศหยุดทำงาน หากเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมถูกปล่อยให้ทำงานโดยไม่โหลดหลังชั่วโมงทำงาน เครื่องอัดอากาศจะกินไฟมากถึง 25% ของการใช้งานแบบเต็มกำลัง หากมีการรั่วไหลในระบบ  เครื่องอัดอากาศอาจจะสลับไปทำงานเป็นครั้งคราวทำให้กินไฟมากขึ้น 

- การปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

ตามที่เราได้กล่าวถึงก่อนหน้านี้ ยิ่งเวลาในการผลิตลดลงจะยิ่งช่วยให้เราประหยัดพลังงานได้มากขึ้นโดยการปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแทนการปล่อยให้เครื่องอัดอากาศทำงานแบบ unload หากมีการผลิตลดลงแต่ไม่ถึงกับหยุดผลิต ให้คุณพิจารณาแยกพื้นที่ที่ไม่ได้ใช้งานของโรงงานออกและปรับปรุงโครงสร้างให้สอดคล้องกับการผลิต 

 2) กำจัดรอยรั่วของระบบอัดอากาศ

หากระบบอัดอากาศมีการติดตั้งมานานแล้ว รอยรั่วของระบบอากาศอัดอาจเป็นแหล่งกินไฟขนาดใหญ่  โดยปกติแล้วการใช้พลังงานในระบบอากาศอัดทั้งหมดนั้นหายไปกับรอยรั่วมากถึง 20% และ 80% ของรอยรั่วเราไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นตำแหน่งไหน  ให้คุณลองตรวจสอบรอยรั่วในระบบบอากาศอัดของคุณ (โปรแกรมตรวจสอบรอยรั่วในโรงงานด้วยระบบ

ข้อดีอย่างหนึ่งของการลดกำลังการผลิตลงคือเราสามารถประหยัดค่าไฟที่ใช้ในแต่ละเดือนได้ เนื่องจากค่าไฟทั้งหมดที่ใช้ในโรงงานนั้นส่วนใหญ่มาจากระบบอากาศอัดที่ใช้ในโรงงาน  ดังนั้นการลดกำลังการผลิตลง (การลดปริมาณลมอัดเพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณการผลิต) จะช่วยในส่วนของธุรกิจคุณ
 

1) ลดช่วงระยะเวลาที่ Unloaded  

ทำให้ความต้องการอากาศในอุตสาหกรรมระบบอากาศอัดมีความผันผวน เราใช้ความผันผวนนี้ลดชั่วโมงการทำงานที่ Unloaded เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน

 - ตัวควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม(Compressor Controllers)

 ตัวควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมใช้งานง่าย จึงช่วยให้คุณลดเวลาในการทำงานที่่ unloaded  หากคุณมีเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมหลายตัวสามารถตั้งค่าตัวควบคุมไว้อัตโนมัติ หากไม่มีตัวควบคุมส่วนกลางแสดงว่า pressure band ของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมคุณมีการติดตั้งแบบ cascade ที่เหมาะสมแล้ว  ซึ่งหมายความว่าเมื่อค่าแรงดันอากาศถึงจุดที่ตั้งไว้ ตัวควบคุมออนบอร์ด (on-board controller) จะสั่งให้เครื่องอัดอากาศหยุดทำงาน หากเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมถูกปล่อยให้ทำงานโดยไม่โหลดหลังชั่วโมงทำงาน เครื่องอัดอากาศจะกินไฟมากถึง 25% ของการใช้งานแบบเต็มกำลัง หากมีการรั่วไหลในระบบ  เครื่องอัดอากาศอาจจะสลับไปทำงานเป็นครั้งคราวทำให้กินไฟมากขึ้น 

- การปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

ตามที่เราได้กล่าวถึงก่อนหน้านี้ ยิ่งเวลาในการผลิตลดลงจะยิ่งช่วยให้เราประหยัดพลังงานได้มากขึ้นโดยการปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแทนการปล่อยให้เครื่องอัดอากาศทำงานแบบ unload หากมีการผลิตลดลงแต่ไม่ถึงกับหยุดผลิต ให้คุณพิจารณาแยกพื้นที่ที่ไม่ได้ใช้งานของโรงงานออกและปรับปรุงโครงสร้างให้สอดคล้องกับการผลิต 

 2) กำจัดรอยรั่วของระบบอัดอากาศ

หากระบบอัดอากาศมีการติดตั้งมานานแล้ว รอยรั่วของระบบอากาศอัดอาจเป็นแหล่งกินไฟขนาดใหญ่  โดยปกติแล้วการใช้พลังงานในระบบอากาศอัดทั้งหมดนั้นหายไปกับรอยรั่วมากถึง 20% และ 80% ของรอยรั่วเราไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นตำแหน่งไหน  ให้คุณลองตรวจสอบรอยรั่วในระบบบอากาศอัดของคุณ (โปรแกรมตรวจสอบรอยรั่วในโรงงานด้วยระบบ

ข้อดีอย่างหนึ่งของการลดกำลังการผลิตลงคือเราสามารถประหยัดค่าไฟที่ใช้ในแต่ละเดือนได้ เนื่องจากค่าไฟทั้งหมดที่ใช้ในโรงงานนั้นส่วนใหญ่มาจากระบบอากาศอัดที่ใช้ในโรงงาน  ดังนั้นการลดกำลังการผลิตลง (การลดปริมาณลมอัดเพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณการผลิต) จะช่วยในส่วนของธุรกิจคุณ
 

1) ลดช่วงระยะเวลาที่ Unloaded  

ทำให้ความต้องการอากาศในอุตสาหกรรมระบบอากาศอัดมีความผันผวน เราใช้ความผันผวนนี้ลดชั่วโมงการทำงานที่ Unloaded เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน

 - ตัวควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม(Compressor Controllers)

 ตัวควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมใช้งานง่าย จึงช่วยให้คุณลดเวลาในการทำงานที่่ unloaded  หากคุณมีเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมหลายตัวสามารถตั้งค่าตัวควบคุมไว้อัตโนมัติ หากไม่มีตัวควบคุมส่วนกลางแสดงว่า pressure band ของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมคุณมีการติดตั้งแบบ cascade ที่เหมาะสมแล้ว  ซึ่งหมายความว่าเมื่อค่าแรงดันอากาศถึงจุดที่ตั้งไว้ ตัวควบคุมออนบอร์ด (on-board controller) จะสั่งให้เครื่องอัดอากาศหยุดทำงาน หากเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมถูกปล่อยให้ทำงานโดยไม่โหลดหลังชั่วโมงทำงาน เครื่องอัดอากาศจะกินไฟมากถึง 25% ของการใช้งานแบบเต็มกำลัง หากมีการรั่วไหลในระบบ  เครื่องอัดอากาศอาจจะสลับไปทำงานเป็นครั้งคราวทำให้กินไฟมากขึ้น 

- การปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

ตามที่เราได้กล่าวถึงก่อนหน้านี้ ยิ่งเวลาในการผลิตลดลงจะยิ่งช่วยให้เราประหยัดพลังงานได้มากขึ้นโดยการปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแทนการปล่อยให้เครื่องอัดอากาศทำงานแบบ unload หากมีการผลิตลดลงแต่ไม่ถึงกับหยุดผลิต ให้คุณพิจารณาแยกพื้นที่ที่ไม่ได้ใช้งานของโรงงานออกและปรับปรุงโครงสร้างให้สอดคล้องกับการผลิต 

 2) กำจัดรอยรั่วของระบบอัดอากาศ

หากระบบอัดอากาศมีการติดตั้งมานานแล้ว รอยรั่วของระบบอากาศอัดอาจเป็นแหล่งกินไฟขนาดใหญ่  โดยปกติแล้วการใช้พลังงานในระบบอากาศอัดทั้งหมดนั้นหายไปกับรอยรั่วมากถึง 20% และ 80% ของรอยรั่วเราไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นตำแหน่งไหน  ให้คุณลองตรวจสอบรอยรั่วในระบบบอากาศอัดของคุณ (โปรแกรมตรวจสอบรอยรั่วในโรงงานด้วยระบบ

ข้อดีอย่างหนึ่งของการลดกำลังการผลิตลงคือเราสามารถประหยัดค่าไฟที่ใช้ในแต่ละเดือนได้ เนื่องจากค่าไฟทั้งหมดที่ใช้ในโรงงานนั้นส่วนใหญ่มาจากระบบอากาศอัดที่ใช้ในโรงงาน  ดังนั้นการลดกำลังการผลิตลง (การลดปริมาณลมอัดเพื่อให้สอดคล้องกับปริมาณการผลิต) จะช่วยในส่วนของธุรกิจคุณ
 

1) ลดช่วงระยะเวลาที่ Unloaded  

ทำให้ความต้องการอากาศในอุตสาหกรรมระบบอากาศอัดมีความผันผวน เราใช้ความผันผวนนี้ลดชั่วโมงการทำงานที่ Unloaded เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน

 - ตัวควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม(Compressor Controllers)

 ตัวควบคุมเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมใช้งานง่าย จึงช่วยให้คุณลดเวลาในการทำงานที่่ unloaded  หากคุณมีเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมหลายตัวสามารถตั้งค่าตัวควบคุมไว้อัตโนมัติ หากไม่มีตัวควบคุมส่วนกลางแสดงว่า pressure band ของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมคุณมีการติดตั้งแบบ cascade ที่เหมาะสมแล้ว  ซึ่งหมายความว่าเมื่อค่าแรงดันอากาศถึงจุดที่ตั้งไว้ ตัวควบคุมออนบอร์ด (on-board controller) จะสั่งให้เครื่องอัดอากาศหยุดทำงาน หากเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมถูกปล่อยให้ทำงานโดยไม่โหลดหลังชั่วโมงทำงาน เครื่องอัดอากาศจะกินไฟมากถึง 25% ของการใช้งานแบบเต็มกำลัง หากมีการรั่วไหลในระบบ  เครื่องอัดอากาศอาจจะสลับไปทำงานเป็นครั้งคราวทำให้กินไฟมากขึ้น 

- การปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลม

ตามที่เราได้กล่าวถึงก่อนหน้านี้ ยิ่งเวลาในการผลิตลดลงจะยิ่งช่วยให้เราประหยัดพลังงานได้มากขึ้นโดยการปิดเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมแทนการปล่อยให้เครื่องอัดอากาศทำงานแบบ unload หากมีการผลิตลดลงแต่ไม่ถึงกับหยุดผลิต ให้คุณพิจารณาแยกพื้นที่ที่ไม่ได้ใช้งานของโรงงานออกและปรับปรุงโครงสร้างให้สอดคล้องกับการผลิต 

 2) กำจัดรอยรั่วของระบบอัดอากาศ

หากระบบอัดอากาศมีการติดตั้งมานานแล้ว รอยรั่วของระบบอากาศอัดอาจเป็นแหล่งกินไฟขนาดใหญ่  โดยปกติแล้วการใช้พลังงานในระบบอากาศอัดทั้งหมดนั้นหายไปกับรอยรั่วมากถึง 20% และ 80% ของรอยรั่วเราไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นตำแหน่งไหน  ให้คุณลองตรวจสอบรอยรั่วในระบบบอากาศอัดของคุณ (โปรแกรมตรวจสอบรอยรั่วในโรงงานด้วยระบบ airscan)  การทำเช่นนั้นจะช่วยให้คุณประหยัดเงินในกระเป๋ามากขึ้น

 3) ลด Pressure Band ลง

ตามหลักการทั่วไปของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมส่วนใหญ่การลดค่า PSI ลง 1% ทำให้ประหยัดพลังงานเพิ่มขึ้น 2% แต่การตั้งค่าแรงดันเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมควรปรับจนกว่าจะถึงแรงดันต่ำสุดแล้ว Pressure Band จะลดลงโดยที่ไม่มีผลต่อการใช้งาน หากคุณติดตั้งระบบอากาศอัดแบบ Centralisation หรือการรวมระบบควบคุมแบบเซ็นเตอร์กลางที่ทำหน้าที่ควบคุมหลายเครื่อง (multiple controller) จะทำให้สามารถตั้งค่าวงจรให้ทำงานภายใน pressure band ที่จำกัดได้  ทำให้เรามั่นใจได้ว่าวงจรระบบอากาศอัดนั้นถูกต้องตรงกับความต้องการของคุณ ตัวควบคุม (controller) ยังช่วยให้คุณสร้าง pressure band ที่แตกต่างกันสองแบบได้ด้วยตัวเองหรือสร้างโดยอัตโนมัติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน

 4) การนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ของคอมเพรสเซอร์

การนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่เป็นการให้ผู้ผลิตมีทางเลือกที่ดีในการประหยัดพลังงานจากการนำพลังงานความร้อนที่เหลือทิ้งจากเครื่องอัดอากาศกลับมาใช้ใหม่ หากไม่มีการนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่  ความร้อนนี้จะหายไปในชั้นบรรยากาศผ่านระบบระบายความร้อนและการแผ่รังสี  ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ขึ้นอยู่กับขนาดของเครื่องอัดอากาศและเวลาทำงาน โดยทั่วไปแล้วพลังงานที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้จะอยู่ระหว่าง 70-94% การนำพลังงานความร้อนจากกการบีบอัดกลับมาใช้ใหม่ช่วยลดความจำเป็นในการซื้อพลังงาน  ซึ่งส่งผลให้ต้นทุนการดำเนินงานลดลงและลดการปล่อยก๊าซ CO2 ยกตัวอย่างเช่น คุณสามารถผลิตน้ำร้อนที่ใช้ในห้องน้ำหรือผลิตฮีทเตอร์ที่ใช้ในที่ทำงาน คลังสินค้า  ท่าเรือหรือทางเข้าบ้านได้เอง ซึ่งการผลิตน้ำร้อนหรือฮีทเตอร์ใช้เองจะช่วยให้คุณประหยัดเงินเพิ่มขึ้นได้จริง

 5) ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณติดตั้งระบบอากาศอัดถูกประเภทแล้ว

กระบวนการผลิตส่วนใหญ่จะแตกต่างกันออกไปตามระดับความต้องการในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน  อาจหมายความว่าเครื่องอัดอากาศกำลังทำงานแบบ off-load หรือไม่ได้ใช้งานเป็นระยะเวลานาน คุณสามารถประหยัดเพิ่มขึ้นได้อีกมาก  หากคุณสามารถเปลี่ยนเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดความเร็วคงที่ (fixed-speed compressor) เป็นเครื่องอัดอากาศชนิดปรับความเร็วรอบได้ (variable-speed drive) เนื่องจากเครื่องอัดอากาศชนิดปรับความเร็วรอบได้จะช่วยผลิตอากาศอัดตามปริมาณการใช้ลมจริงเท่านั้น นอกจากนี้ยังช่วยลดภาระการทำงานของเครื่องอัดอากาศอีกด้วย 

ระบบอากาศอัดไม่ควรอาศัยการทำงานแบบคาดเดา  ที่ Atlas Copco เรามีเครื่องมือและบริการต่างๆ มากมายซึ่งช่วยให้ระบบอากาศอัดของคุณมีประสิทธิภาพตรงตามมาตรฐาน  วิธีที่จะยืดอายุการใช้งานรวมถึงวิธีที่ทำให้คุณแน่ใจว่าเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมคุณยังคงประสิทธิภาพแม้ในช่วงที่การผลิตชะลอตัวโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย!! หัวใจสำคัญที่คุณควรรู้คือการลงทุนใดๆ ก็ตามควรมาพร้อมกับการคืนทุนและผลตอบแทน (ROI) ที่ชัดเจน หากเครื่องอัดอากาศที่คุณกำลังจะลงทุนนั้นไม่สามารถทำได้ก็ไม่ควรลงทุน!! จากมุมมองด้านต้นทุนและการเงิน อาจให้เหตุผลว่าไม่มีเวลาลงทุนในระบบอากาศอัดที่ดีกว่า เพราะบ่อยครั้งที่ค่าใช้จ่ายรายเดือนของเครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมเครื่องใหม่นั้นถูกกว่าการลดค่าใช้จ่ายรายเดือน   ดังนั้นการใช้เครื่องอัดอากาศที่เหมาะสมจึงมีส่วนช่วยให้คุณทำกำไรได้ตั้งแต่วันแรก หากคุณคิดว่าคุณมีเครื่องอัดอากาศที่ไม่เหมาะกับการใช้งานของคุณ คุณควรมองหาโซลูชั่นที่จะส่งเสริมให้ระบบการทำงานนั้นเหมาะกับคุณ

การจะตัดสินใจว่าเราควรจะใช้ระบบอากาศอัดแบบใดนั้นขึ้นอยู่กับระดับอุตสาหกรรมการผลิตที่แตกต่างกันออกไป การเลือกใช้เครื่องอัดอากาศได้เหมาะสมจะช่วยให้คุณประหยัดเงินและช่วยให้ระบบอัดอากาศของคุณทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  หากคุณมีคำถามสามารถปรึกษาผู้เชี่ยวชาญของเราได้ที่ Line: @atlascopcothailand

Centrifugal compressors Screw compressors ตัวปรับความเร็วรอบมอเตอร์ VSD Atlas Copco เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมชนิดไร้น้ำมัน 2020

atlas copco thailand 24/7 customer center

แอตลาส คอปโก้ ประเทศไทย (สำนักงานใหญ่)

125 หมู่ 9 นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์ ถ.บางนาตราด กม.36 ต.บางวัว อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา 24310

การใช้ระบบอากาศอัดในอุตสาหกรรมการผลิตที่มีระดับแตกต่างกันจะประสบปัญหาอะไรบ้าง?

explainer icon